- This topic has 0 ข้อความตอบกลับ, 1 เสียง, and was last updated 6 years, 5 months มาแล้ว by betaglucan-maho.
กำลังดู 1 ข้อความ - 1 ผ่านทาง 1 (ของทั้งหมด 1)
-
ผู้เขียนข้อความ
-
betaglucan-mahoKeymaster
โรคไทรอยด์เป็นพิษหรือไฮเปอร์ไทรอยด์(Hyperthyroidism)
เป็นภาวะที่ภูมิต้านทานกระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้สร้างฮอร์โมนออกมามากเกินไป ทำให้ระบบเผาผลาญทำงานมากขึ้น เกิดความผิดปกติแก่ร่างกาย เช่น น้ำหนักตัวลดลงอย่างรวดเร็วแบบผิดปกติ หัวใจเต้นเร็วหรือเต้นผิดปกติ เหงื่อออกง่าย และหงุดหงิด ฉุุนเฉียว เป็นต้น โดยจะพบมากในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย 5-10 เท่า และจัดเป็นโรคภูมิต้านทานตนเองชนิดหนึ่ง
อาการของโรคไทรอยด์เป็นพิษ
พบได้บ่อยสุดคือ อาการคอพอก ผู้ป่วยจะรู้สึกมีก้อนขนาดใหญ่ที่บริเวณคอ ทั้งนี้หากผู้ป่วยมีภาวะไทรอยด์เป็นพิษไม่มากนัก อาจจะไม่มีอาการใดๆ แสดงออกมา โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่อาการแสดงออกไม่ชัดเจนมากนัก แต่ก็ถือเป็นโรคที่มีผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวัน อาการอื่นๆ เช่น
-
คลื่นไส้ อาเจียน ถ่ายเหว
-
อารมณ์แปรปรวน วิตกกังวล หงุดหงิดง่าย ไม่มีสมาธิ นอนหลับยาก
-
ตาโปน ตาบวม หรือมีเป็นหาสายตา เช่น เห็นภาพซ้อน
-
ผู้หญิงมีรอบเดือนผิดปกติ ประจำเดือนมีสีจางและมาไม่สม่ำเสมอ
-
กล้ามเนื้ออ่อนแรง โดยเฉพาะบริเวณต้นขาและต้นแขน
-
เล็บยาวเร็วผิดปกติ
-
หัวใจเต้นเร็วมากกว่า 100 ครั้ง/นาที พบมากในผู้สูงอายุ
-
มือสั่นตลอดเวลา
-
น้ำหนักลด แต่มีอยากอาหารมากขึ้น
-
อาจพบเต้านมมีขนาดใหญ่ขึ้นในเพศชาย
สาเหตุของโรคไทรอยด์เป็นพิษ เกิดจาก
-
โรคเกรฟส์(Graves Disease) พบมากในผู้หญิงวัยรุ่นและวันกลางคน เป็นไปได้ว่าเป็นการถ่ายอดทางพันธุกรรมโดยเฉพาะการสูบบุหรี่จะยิ่งเพิ่มความเสี่ยงของโรคเกรฟส์
-
รับประทานอาหารที่มีไอโอดีนมากเกินไป เนื่องจากเป็นสารที่ทำให้ผลิตฮอร์โมนไทรอยด์
-
การได้รับการเสริมฮอร์โมนไทดอยด์มากเกินไป เช่น ยาAmiodarone ที่ใช้ในการรักษาโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ
-
การอักเสบของต่อมไทรอยด์
-
เนื้องอกที่ต่อมไทรอยด์ อาจส่งผลให้เกิดการหลั่งฮอร์โมนไทรอยด์มากจนกลายเป็นพิษได้ แต่เป็นกรณีที่พบได้น้อย
การรักษา
-
การรับประทานยาต้านไทรอยด์ ยาMethimazole และยาPropylithiouracil เป็นยาต้านไทรอยด์ที่มีการใช้อย่างแพร่หลายในประเทศไทย โดยแพทย์จะเป็นผู้จัดปริมาณการใช้ยาให้ทุกๆ 4 สัปดาห์ พิจารณาจากผลตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ ใช้เวลาการรักษาอย่างน้อย 1 ปี มีผลข้างเคียงคือ เกิดผื่น มีไข้และปวดตามข้อ หรือผลข้างเคียงที่รุนแรงคือภาวะเม็ดเลือดขาวต่่ำ แต่พบได้น้อย
-
การใช้ยาต้านเบต้า จะช่วยลดอัตราการเต้นของหัวใจให้ช้าลง บรรเทาอาการใจสั่น และวิตกกังวล มักใช้กับผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูง แต่มีผลข้างเคียง เช่น ทำให้รู้สึกอ่อนเพลีย ปวดหัว ท้องไส้ปั่นป่วน ท้องเสีย หรือวิงเวียนศีรษะ
-
การผ่าตัดต่อมไทรอยด์ แต่เป็นกรณีที่พบน้อยมาก โดยแพทย์จะนำต่อมไทรอยด์ส่วนใหญ่ออกเพื่อรักษาอาการแต่มีความเสี่ยงที่อาจทำลายเส้นเสียงและต่อมพาราไทรอยด์ได้ และหลังผ่าตัดแล้วผู้ป่วยต้องทานยาเพื่อรักษาระดับฮอร์โมนไปตลอด
-
การรักษาด้วยรังสีไอโอดีน เป็นการรับประทานสารรังสีไอโอดีน โดยจะถูกดูดซึมโดยต่อมไทรอยด์ ทำให้ต่อมไทรอยด์ค่อยๆ หดตัวลงและอาการจะค่อยๆดีขึ้น ประมาณ 3-6 เดือน มีผลข้างเคียงคือเกิดภาวะฮอร์โมนไทรอยด์ต่ำ ด้วยวิธีนี้จะใช้กับผู้ป่วยที่อายุ 60 ปีขึ้นไป
-
การปรับพฤติกรรมการรับประทานอาหาร
การรักษาทางเลือก
มะโฮ จะปรับภูมิคุ้มกันให้ทำงานเป็นปกติ ช่วยปรับฮอร์โมนเข้าสู่สภาวะสมดุลของร่างกาย อาการของโรคตาโปน ตาบวม เห็นภาพซ้อน จะค่อยๆหายไปกลับไปเป็นปกติครับ
เคสผู้ป่วยโรคไทรอยด์เป็นพิษ รักษาทางเลือก
-
-
ผู้เขียนข้อความ
-
ผู้เขียนข้อความ
-
โรคไทรอยด์เป็นพิษหรือไฮเปอร์ไทรอยด์(Hyperthyroidism)
เป็นภาวะที่ภูมิต้านทานกระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้สร้างฮอร์โมนออกมามากเกินไป ทำให้ระบบเผาผลาญทำงานมากขึ้น เกิดความผิดปกติแก่ร่างกาย เช่น น้ำหนักตัวลดลงอย่างรวดเร็วแบบผิดปกติ หัวใจเต้นเร็วหรือเต้นผิดปกติ เหงื่อออกง่าย และหงุดหงิด ฉุุนเฉียว เป็นต้น โดยจะพบมากในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย 5-10 เท่า และจัดเป็นโรคภูมิต้านทานตนเองชนิดหนึ่ง
อาการของโรคไทรอยด์เป็นพิษ
พบได้บ่อยสุดคือ อาการคอพอก ผู้ป่วยจะรู้สึกมีก้อนขนาดใหญ่ที่บริเวณคอ ทั้งนี้หากผู้ป่วยมีภาวะไทรอยด์เป็นพิษไม่มากนัก อาจจะไม่มีอาการใดๆ แสดงออกมา โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่อาการแสดงออกไม่ชัดเจนมากนัก แต่ก็ถือเป็นโรคที่มีผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวัน อาการอื่นๆ เช่น
-
คลื่นไส้ อาเจียน ถ่ายเหว
-
อารมณ์แปรปรวน วิตกกังวล หงุดหงิดง่าย ไม่มีสมาธิ นอนหลับยาก
-
ตาโปน ตาบวม หรือมีเป็นหาสายตา เช่น เห็นภาพซ้อน
-
ผู้หญิงมีรอบเดือนผิดปกติ ประจำเดือนมีสีจางและมาไม่สม่ำเสมอ
-
กล้ามเนื้ออ่อนแรง โดยเฉพาะบริเวณต้นขาและต้นแขน
-
เล็บยาวเร็วผิดปกติ
-
หัวใจเต้นเร็วมากกว่า 100 ครั้ง/นาที พบมากในผู้สูงอายุ
-
มือสั่นตลอดเวลา
-
น้ำหนักลด แต่มีอยากอาหารมากขึ้น
-
อาจพบเต้านมมีขนาดใหญ่ขึ้นในเพศชาย
สาเหตุของโรคไทรอยด์เป็นพิษ เกิดจาก
-
โรคเกรฟส์(Graves Disease) พบมากในผู้หญิงวัยรุ่นและวันกลางคน เป็นไปได้ว่าเป็นการถ่ายอดทางพันธุกรรมโดยเฉพาะการสูบบุหรี่จะยิ่งเพิ่มความเสี่ยงของโรคเกรฟส์
-
รับประทานอาหารที่มีไอโอดีนมากเกินไป เนื่องจากเป็นสารที่ทำให้ผลิตฮอร์โมนไทรอยด์
-
การได้รับการเสริมฮอร์โมนไทดอยด์มากเกินไป เช่น ยาAmiodarone ที่ใช้ในการรักษาโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ
-
การอักเสบของต่อมไทรอยด์
-
เนื้องอกที่ต่อมไทรอยด์ อาจส่งผลให้เกิดการหลั่งฮอร์โมนไทรอยด์มากจนกลายเป็นพิษได้ แต่เป็นกรณีที่พบได้น้อย
การรักษา
-
การรับประทานยาต้านไทรอยด์ ยาMethimazole และยาPropylithiouracil เป็นยาต้านไทรอยด์ที่มีการใช้อย่างแพร่หลายในประเทศไทย โดยแพทย์จะเป็นผู้จัดปริมาณการใช้ยาให้ทุกๆ 4 สัปดาห์ พิจารณาจากผลตรวจระดับฮอร์โมนไทรอยด์ ใช้เวลาการรักษาอย่างน้อย 1 ปี มีผลข้างเคียงคือ เกิดผื่น มีไข้และปวดตามข้อ หรือผลข้างเคียงที่รุนแรงคือภาวะเม็ดเลือดขาวต่่ำ แต่พบได้น้อย
-
การใช้ยาต้านเบต้า จะช่วยลดอัตราการเต้นของหัวใจให้ช้าลง บรรเทาอาการใจสั่น และวิตกกังวล มักใช้กับผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูง แต่มีผลข้างเคียง เช่น ทำให้รู้สึกอ่อนเพลีย ปวดหัว ท้องไส้ปั่นป่วน ท้องเสีย หรือวิงเวียนศีรษะ
-
การผ่าตัดต่อมไทรอยด์ แต่เป็นกรณีที่พบน้อยมาก โดยแพทย์จะนำต่อมไทรอยด์ส่วนใหญ่ออกเพื่อรักษาอาการแต่มีความเสี่ยงที่อาจทำลายเส้นเสียงและต่อมพาราไทรอยด์ได้ และหลังผ่าตัดแล้วผู้ป่วยต้องทานยาเพื่อรักษาระดับฮอร์โมนไปตลอด
-
การรักษาด้วยรังสีไอโอดีน เป็นการรับประทานสารรังสีไอโอดีน โดยจะถูกดูดซึมโดยต่อมไทรอยด์ ทำให้ต่อมไทรอยด์ค่อยๆ หดตัวลงและอาการจะค่อยๆดีขึ้น ประมาณ 3-6 เดือน มีผลข้างเคียงคือเกิดภาวะฮอร์โมนไทรอยด์ต่ำ ด้วยวิธีนี้จะใช้กับผู้ป่วยที่อายุ 60 ปีขึ้นไป
-
การปรับพฤติกรรมการรับประทานอาหาร
การรักษาทางเลือก
มะโฮ จะปรับภูมิคุ้มกันให้ทำงานเป็นปกติ ช่วยปรับฮอร์โมนเข้าสู่สภาวะสมดุลของร่างกาย อาการของโรคตาโปน ตาบวม เห็นภาพซ้อน จะค่อยๆหายไปกลับไปเป็นปกติครับ
เคสผู้ป่วยโรคไทรอยด์เป็นพิษ รักษาทางเลือก
-
-
ผู้เขียนข้อความ
กำลังดู 1 ข้อความ - 1 ผ่านทาง 1 (ของทั้งหมด 1)